Holiday-Tourismthailand

การจัดการการตลาดแนวใหม่

Custom Search

วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

อวัยวะที่เกิดโรคแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูงโดยที่ไม่มีอาการ

ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงนานมักจะมีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด หรือการทำงานของอวัยวะที่สำคัญ ได้แก่ หลอดเลือด ตา สมอง หัวใจ ไต การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะดำเนินไปอย่างช้าๆโดยที่ไม่มีอาการอะไร ดังนั้นในการเริ่มต้นให้การรักษาจะต้องนำผลการตรวจเหล่านี้มาพิจารณาด้วย การตรวจเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นการตรวจเพิ่มเติม แพทย์จะพิจารณาตามความเหมาะสม การตรวจดังกล่าวได้แก่

การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจพบว่ากล้ามเนื้อหัวใจหน้า หรือมีหัวใจโต หากมีกล้ามเนื้อหัวใจหนาแสดงว่าความดันโลหิตที่สูงมีผลต่อกล้ามเนื้อหัวใจ โดยที่ยังไม่เกิดอาการ
การตรวจคลื่นเสียงหัวใจหรือที่เรียกว่า Echocardiographic พบว่ากล้ามเนื้อหัวใจหนาหรือโต
ทำ ultrasound พบว่ามีความหนาตัวของผนังด้านในหลอดเลือดมากกว่า Carotid wall thickening (IMT>0.9 mm) หรือเกิดคราบ plaque
วัดความเร็วของหลอดเลือดแดงที่ ค อและขา Carotid-femoral pulse wave velocity >12 m/s
วัดความดันที่ข้อเท้าเทียบกับที่แขนได้น้อยกว่า Ankle/brachial BP index<0.9
ตรวจเลือดพบว่าการทำงานของไตเริ่มเสื่อม:
ผู้ชาย: 115–133 mmol/l (1.3–1.5 mg/dl);
ผู้หญิง: 107–124mmol/l (1.2–1.4 mg/dl)
การทำงานของไตลดลงโดยมีอัตราการกรองของไตลดลง (<60 ml/min/1.73m2)
ตรวจปัสสาวะพบไขขาวMicroalbuminuria 30–300 mg/24 h หรืออัตราส่วนของไขขาวต่อไต albumin-creatinine ratio: 22 (M); or 31(W) mg/g creatinine
การตรวจทั้งหมดดังกล่าวเบื้องต้นหากพบว่าผิดปกติแสดงว่าความดันโลหิตที่สูงมีผลต่ออวัยวะดังกล่าว จะถือว่าอวัยวะได้รับความเสียหายโดยที่ยังไม่เกิดอาการ

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Business

  • การซื้อของผู้บริโภค - พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค หมายถึง พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคขึ้นสุดท้ายที่ซื้อสินค้าและบริการไปเพื่อกินเองใช้เอง หรือเพื่อกินหรือใช้ภายในครัวเรือน ผู้บ...
    3 ปีที่ผ่านมา
  • แนวข้อสอบพระราชบัญญัติปิโตรเลียม - 1. พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ให้ไว้ ณ วันใด ก. ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ค. ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ข. ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ง....
    7 ปีที่ผ่านมา

Blog M